|
หน่วยที่ 1 การบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริต |
177. องค์กรปกครอรงส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ.2561-2564) :
2. ประกาศให้ประชาชนได้ทราบถึงแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ.2561-2564) และเผยแพร่บนเว็บไซต์หลักของ อปท. :
3. มีการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รอบ 6 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และรายงานในระบบ e-PlanNACC :
4. มีการนำรายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รอบ 12 เดือน และ พ.ศ.2564 รอบ 6 เดือน จากระบบ e-PlanNACC มาแสดงบนเว็บไซต์ :
|
178. กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริตขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีกิจกรรมและสนับสนุน หรือยกย่องบุคคลต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรมใน อปท. :
2. มีกิจกรรมและสนับสนุน หรือยกย่องบุคคนต้นแบบด้านคุณธรรม จริธรรมภายนอก อปท. :
3. สนับสนุนหน่วยงานอื่นในการยกย่องบุคคลต้นแบบด้านคุณธรรม จริธรรม : -ไม่มีการสนับสนุน-
4. มีการแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต้านการทุจริตของผู้บริหาร :
5. มาตรการการใช้ดุลพินิจและใช้อำนาจหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักการบริหากิจการบ้านเมืองที่ดี :
6. มีการเชิดชูเกียรติแก่หน่วยงาน/บุคคลในการดำเนินกิจการการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นที่ประจักษ์ :
7. มีมาตรการจัดการในกรณีได้ทราบหรือรับแจ้ง หรือตรวจสอบพบการทุจริต :
8. มีการเผยแพร่กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริตของ อปท. ทางเว็บไซต์หลักของ อปท. : ข่าวประชาสัมพันธ์
|
179. การส่งเสริมด้านคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดจริยธรรม
1. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการทุจริต :
2. มีการประกาศเจตนารมณ์การป้องกันและต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น :
3. มีการดำเนินการโครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมจริงอย่างน้อย 3 โครงการ หรือ 3 กิจกรรม และแสดงผลการดเนินงานดังกล่าวให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์ :
4. มีการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมการป้องกันการทุจริตของอำเภอ/จังหวัด : -ไม่มี-
5. มีการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หรือการป้องกันการทุจริตของหน่วยงานราชการ (มิใช่อำเภอ/จังหวัด) ป.ป.ช., ป.ป.ท., สถาบันพระปกเกล้า, สถาบันพัฒนาบุคคลากรท้องถิ่น ฯลฯ :
6. มีการจัดทำรายงานผลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้ผู้บริหารท้องถิ่นรับทราบ :
7. มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม :
|
180. การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการรักษาวินัย
1. การจัดทำป้าย/แผ่นพับ หรือรูปแบบการประชาสัมพันธ์อื่น ๆ :
2. การจัดทำและเผยแพร่ประมวลจริยธรรมให้ข้าราชการทราบและถือปฏิบัติ :
3. การอบรมหรือฝึกอบรมเพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนหรือวินัยของข้าราชการ :
4. การจัดกิจกรรมที่เป็นการเสริมสร้างและพัฒนาทัศนคติ จิตสำนึกและพฤติกรรมของข้าราชการให้ไปในทางที่มีวินัย :
5. ในรอบปี ไม่มีข้าราชการถูกดำเนินการทางวินัย : -ในรอบปีไม่มีข้าราชการถูกดำเนินการทางวินัย- |
หน่วยที่ 2 การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน |
181. การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบที่เป็นปัจจุบันในศูนย์ข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น :
2. จัดให้มีและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในช่องทางที่เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทุกขั้นตอน :
3. มีการรับฟังความคิดเห็นการรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน :
4. มีการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น :
5. มีการเก็บสถิติผู้มารับบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร และสรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น : |
182. การเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. จัดให้มีมาตรการภายในการควบคุมภายในตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด :
2. มีการสนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติหรือการบริหารราชการตามช่องทางที่สามารถดำเนินการได้ :
3. มีการส่งเสริมบทบาทการตรวจสอบของสภาท้องถิ่น :
4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต :
5. เปิดเผยข้อมูลของบุคคลและหน่วยงานตามตัวชี้ ITA และลงในเว็บไซต์ : |
หน่วยที่ 3 การมีระบบ และกลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน |
183. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบและกลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
1. มีการกำหนดหน่วยงานหรือมอบหมายผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน และแนวปฏิบัติจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักของ อปท. :
2. มีการส่งเรื่องร้องเรียนให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ :
3. มีบัญชีเรื่องร้องเรียนและลงรายละเอียดในบัญชีครบ ถูกต้อง :
4. ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่านได้รับการแก้ไข :
5. มีการแจ้งผลการดำเนินการให้ผู้ร้องเรียนทราบ ทั้งดำเนินการและไม่ดำเนินการแก้ไขข้อร้องเรียน :
6. มีการดำเนินการหรือมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ต่อการทุจริตในหน่วยงาน :
7. มีการนำผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบทั้งภายใน ภายนอก ไปปรับปรุงการทำงานเพื่อป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน : |
184. มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีมาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ :
2. มีมาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต :
3. มีมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง :
4. มีมาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต :
5. มีมาตรการป้องกันการรับสินบน :
6. มีมาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม :
7. มีมาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ :
8. มีการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร :
9. มีมาตรการในการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักแก่บุคลากรทั้งผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาฯ และข้าราชการ อปท. : |
หน่วยที่ 4 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ |
185. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติหรือการรับรองว่าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามหน้าที่และอำนาจที่ได้กำหนดไว้จากหน่วยงานต่าง ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2563
1. ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติหรือการรับรองว่าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน จำนวน 3 รางวัลขึ้นไป
2. ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติหรือการรับรองว่าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน จำนวน 2 รางวัล
3. ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติหรือการรับรองว่าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน จำนวน 1 รางวัล
4. ไม่ไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติหรือการรับรองว่าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนใด ๆ |
186. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกชี้มูลความผิดจากหน่วยตรวจสอบ
- อบต.เกาะสำโรง ไม่มีการถูกชี้มูลความผิด - |
187. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสำนักงาน ป.ป.ช.
มีการดำเนินการเข้าร่วมการประเมิน ITA โดยเข้าลงทะเบียนผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment System : ITAS) และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลครบทั้ง 3 กระบวนการ ดังนี้
1. มีการเก็บข้อมูลแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) (ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและผู้บริหารจะต้องตรวจสบอและอนุมัติข้อมูลในระบบ ITAS)
2. มีการเก็บข้อมูลแบบการวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) (ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและผู้บริหารจะต้องตรวจสบอและอนุมัติข้อมูล)
3. มีการตอบแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open data Integrity and Transparency Assessment : OIT) (ผู้ดูแลระบบของหน่วยงานเป็นผู้กรอกข้อมูลและผู้บริหารจะต้องตรวจสบอและอนุมัติข้อมูล) |
188. ระดับคะแนนและระดับผลการประเมินการเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท.
1. อปท. เข้าร่วมประเมิน ITA ผ่านระบบ ITAS ได้รับคะแนนและระดับผลกระประเมินตาที่กำหนด :
2. ผลการประเมิน คือ ค่าคะแนนโดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน : |
189. ระดับคะแนนการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ในการเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท.
1. มีปันทึก ผลคะแนน OIT ที่ อปท. ได้รับจากการระเมิน ITA ที่แสดงในระบบ ITAS และความเห็นเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
2. มีความเห็น/ข้อสั่งการ ของผู้บริหารท้องถิ่น |
190. อปท. มีการดำเนินตามมาตรการป้องกันและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา
1. ตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าที่ในสังกัดตามสายการบังคับบัญชาในการกำกับดูแลเรื่องการติดป้ายโฆษณาบนทางสาธารณะ :
2. มีการจัดให้มีช่องทางที่เหมาะสมสำหรับแจ้งเบาะแสป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นในที่รุกล้ำทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์หรือช่องทางอื่น เช่น ทางไปรษณีย์ กล่องความคิดเห็น เป็นต้น และมีแนวทางการจัดการที่ชัดเจนและรายงานผบการดำเนินการภายหลังได้รับการแจ้งเบาะแสให้ประชาชนผู้แจ้งเบาะแสรับทราบ :
3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและผู้ประกอบการทราบถึงการกระทำอันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับการติดตั้งป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะ :
4. มีการออกตรวจการติดตั้งป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายและมีการจัดเก็บหรือรื้อถอนป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะ :
5. มีการดำเนินการตามกฎหมายกับผู้ติดตั้งป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย :
6. มีการรายงานผลการดำเนินการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานและแจ้งข้อมูลให้กับเจังหวัดและให้จังหวัดรายงานผลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบทุก ๆ 3 เดือน : |